วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

มองโลกมองไทย - เทรนด์การศึกษาในอีก 10 ปีข้างหน้า



มองโลกมองไทย - เทรนด์การศึกษาในอีก 10 ปีข้างหน้า


 

Effectiveness of Transformational Leadership Style in Secondary Schools in Nigeria

 Effectiveness of Transformational Leadership Style in Secondary Schools in Nigeria

Money, Veronica. O.
Journal of Education and Practice, v8 n9 p135-140 2017
Education is the engine of national growth. A population of well educated citizens increases national economic competitiveness. To survive and develop in any nation, the education industry must grow. Secondary schools in Nigeria are headed by Principal. They are regarded as the Chief Executive of the school and are held accountable for all that happens. Hence, it is important to look at the leadership style-Transformational Leadership Style which may have a positive impact on the education sector. The concept of transformation leadership was initially introduced by leadership expert and presidential biographer-James MacGregor Burns (1978) who said that transformation leaders can be seen when "leaders and followers make each other to advance to a higher level of moral and motivation." Transforming approach creates significant change in the life of people and organizations. It redesigns perceptions and values, and changes expectations and aspirations of followers. The fundamental idea in this theory is 'change' and the commitment of leadership in ensuring the implementation of organizational transformation, through transforming individuals in the organization. This study examined empirically the perceived knowledge and practice of transformation leadership of principal in Secondary Schools in Nigeria. The sample consists of 50 principals and 400 teachers. These were chosen by stratified and simple random sampling method from 50 schools across the six-geo-political zones of Nigeria (North-Central; North-East, North-West, South-West, South-South and South-East), 8 respondents were randomly drawn from each school while Principal of such schools automatically became a respondent. The ex-post facto research design was employed in the study. Five research questions and hypotheses were formulated to guide the study (investigation via questionnaire) entitled, "Transformation Leadership in Secondary Education" (TLISE). "TLISE" has a five-point Likert type rating scale and this was validated by experts in research method and statistics. The reliability coefficient was computed to be 0.81. The data collected were analysed through the application of t-test for different between Means and Pearson Product moment correlation, four out of the five hypotheses were accepted while one was rejected. The result revealed that both principal and teachers are aware of transformation leadership styles, however it was doubtful if the practical aspect of transforming the followers and students are realized. Based on the findings, recommendations were made to include: Principals must act as agent of positive change by creating a caring and trustful atmosphere; enhance team spirit; involve teachers in planning and making teaching materials.
IISTE. No 1 Central, Hong Kong Island, Hong Kong SAR. Tel: +852-39485948; e-mail: JEP@iiste.org; Web site: http://iiste.org/Journals/index.php/JEP
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: Secondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Nigeria

Download Full text.


O, M.V.  (2017) Effectiveness of Transformational Leadership Style in Secondary Schools in Nigeria. Journal of Education and Practice, v.8 ,n.9 ; pp135-140.



The Efficiency of Administrative CPD Courses towards School Managers

 The Efficiency of Administrative CPD Courses towards School Managers

Bozak, Ahmet; Karadag, Mümtaz; Bolat, Yavuz
International Journal of Higher Education, v7 n2 p234-246 2018
The aim of this study is to define the points of view of the schools directors on administratorship CPD training course organized by local educational directorates. A mixed model was used in this study and related data was evaluated both at quantitative and qualitative dimensions. The sample group was formed by 174 participants among 567 school directors who participated to the administratorship CPD training course organized by Sanliurfa Local Educational Directorate in Bozova, Haliliye, Siverek and Viransehir districts in educational year of 2015 and 2016, and study group was formed by 149 school directors who participated the CPD training course in the same educational districts. Data was collected via a survey in quantitative dimension and by phenomenological interviewing technic in qualitative dimension. In the study, it was concluded that CPD course led the participants acquire new knowledge and skills, and have new perspective and understanding related to school management, the content of training course and qualification of the instructors were efficient enough according to the participant school managers, the CPD course was sufficient in terms of educational tools and equipment, school managers pay more attention to self-learning and find the CPD course sufficient enough in terms of self-learning opportunities, participants are concerned about the teaching methodology of the training course and they demand to have teaching methods which will depend on practical and operative activities rather than theoretical and academic information, the participants were not satisfied with the facilities supplied by the CPD organization, the timing of the CPD course was not welcomed and many participants stated their negative concern about the timing of the CPD course as it was held within educational year and as they had to manage their school simultaneously.
Sciedu Press. 1120 Finch Avenue West Suite 701-309, Toronto Ontario, Canada M3J 3H7. Tel: 416-479-0028; Fax: 416-642-8548; e-mail: ijhe@scieduca; Web site: http://www.sciedupress.com/ijhe
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: N/A
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Turkey

Karadag, B.A., and Yavuz, M.B. (2018) The Efficiency of Administrative CPD Courses towards School Managers. International Journal of Higher Education, v.7 ,No.2 ; pp.234-246.


วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

การศึกษาทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2 (A STUDY OF ADMINISTRATIVE SKILLS OF THE SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER KAMPHAENGPHET PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2)

 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2 จำแนกตามตำแหน่งและระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 145 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการเลือก แบบเจาะจง และครูผู้สอน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 145 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 290 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที (t-test independent) ผลการศึกษา พบว่า 1) ทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และจำแนกตามระดับการศึกษา พบว่าผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และปริญญาตรีขึ้นไป มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

 

มณีรัตน์ พรรณพุ่มพฤกษ์ และ จิติมา วรรณศรี. (2561) การศึกษาทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร  ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม -  มีนาคม 2562.

กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 Development Strategies of Transformational Leadership for School Administrators in Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6

 

บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 3) เพื่อสร้างกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 และ 4) เพื่อประเมินกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานประกอบด้วย การวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์ และการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลกับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 จำนวน 125 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้รักษาราชการแทน ครู กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง นักเรียน รวมทั้งหมด 500 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน จากค่าดัชนีความต้องการจำเป็น วิเคราะห์โอกาส ภาวะคุกคามและกำหนดกลยุทธ์โดยใช้รูปแบบของ SWOT Matrix และประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของกลยุทธ์จากผู้ทรงคุณวุฒิผลการวิจัยพบว่า
1. องค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา มี 5 องค์ประกอบ คือ การมีอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล การกระตุ้นทางปัญญา การสร้างแรงบันดาลใจ และการมีพฤติกรรมทางจริยธรรม
2. ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนามากเป็นลำดับที่หนึ่ง คือ การมีพฤติกรรมทางจริยธรรม โดยมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็น เท่ากับ 0.27 รองลงมา คือ การกระตุ้นทางปัญญา การสร้างแรงบันดาลใจ การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล และการมีอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ โดยมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็น เท่ากับ 0.26, 0.25, 0.20 และ 0.19 ตามลำดับ
3. กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 มี 5 กลยุทธ์หลัก คือ กลยุทธ์กระตุ้นพฤติกรรมทางจริยธรรม กลยุทธ์ส่งเสริมการกระตุ้นทางปัญญา กลยุทธ์ส่งเสริมการสร้างแรงบันดาลใจ กลยุทธ์มุ่งเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคล และกลยุทธ์เสริมสร้างอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ โดยมี 19
กลยุทธ์รองและ 92 แนวทางปฏิบัติ
4. การประเมินกลยุทธ์ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.84 และความเป็นไปได้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75

ทัพพ์นิธิศ ปิ่นภัคพูลลดา (2560) กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.


โปรแกรม e-Mes ระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายและกิจกรรม สพฐ.

  โปรแกรม e-Mes ระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามนโยบายและกิจกรรม สพฐ.